Feline Chronic Enteropathy

 

Feline Chronic Enteropathy 

คือภาวะความผิดปกติของโรคระบบทางเดินอาหารเรื้อรังในแมวที่กินระยะเวลานานกว่า 3 สัปดาห์ขึ้นไป โดยที่ไม่ได้มีสาเหตุอื่นมาจาก extraintestinal causes or infectious, obstructive or localized neoplastic intestinal diseases

การศึกษาในปี 2022 เก็บข้อมูลจากแมวที่มีภาวะ chronic enteropathy ทั้งหมด 65 ตัว พบว่า แมว 26 ตัว (46%) ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น Food Responsive Enteropathy (FRE) โดยอาการที่พบในแมวเหล่านี้ได้แก่ น้ำหนักลด, อาเจียน, ท้องเสีย, กินอาหารลดลงหรือไม่กินอาหาร

 

Feline chronic enteropathy ถูก subclassified ออกเป็น 3 กลุ่มโดยใช้การตอบสนองต่อการรักษา ดังนี้  

  1. Food-responsive enteropathy (FRE)
  2. Idiopathic inflammatory bowel disease (IBD) or steroid-responsive enteropathy (SRE)
  3. Alimentary small cell lymphoma (SCL)

 

State-of-the-art diagnostic tests for FRE 

ในแมวที่สงสัยว่าจะเป็น FRE สามารถทำ Dietary Elimination - Challenge trial เพื่อทดสอบภาวะแพ้อาหารได้ 

คุณสมบัติของอาหารสำหรับใช้ทดสอบภาวะแพ้อาหาร ได้แก่   

1. Novel protein diet เลือกใช้โปรตีนจากเนื้อสัตว์ชนิดใหม่ๆที่แมวไม่เคยกินมาก่อนและควรจำกัดจำนวนชนิดของโปรตีนในอาหาร (ใช้เป็น single protein ที่เป็น novel protein diet )

 2. Hydrolyzed protein diet เลือกใช้อาหารที่ถูกทำให้โมเลกุลโปรตีนในอาหารเล็กลง เช่น โมเลกุลโปรตีนที่ถูก hydrolyzed ให้มีขนาดเล็กกว่า 10,000 ดาลตันเพื่อลดความเสี่ยงจากการแพ้โปรตีน  

ในแมวการทำ diet trial ต่างจากในสนุนัขเล็กน้อยตรงที่แมวสามารถให้กินเป็น single protein (novel protein) อย่างเดียวได้เลยโดยอาจไม่จำเป็นต้องให้คาร์โบไฮเดรตซึ่งต่างจากในสุนัขที่ต้องให้เป็น single protein (novel protein) + single carbohydrate 

 

ข้อดีของอาหารแต่ละชนิดสำหรับใช้ทดสอบภาวะแพ้อาหาร (Hydrolyzed protein Vs Novel protein)

Hydrolyzed protein  : สามารถใช้ในแมวที่มีประวัติกินอาหารหลากหลายอย่างมาก่อน / สามารถใช้เป็น second or third choice ในเคสที่ทำ diet trials แล้ว fail

Novel protein : ความน่ากินสูงกว่า แมวยอมรับอาหารได้ง่ายกว่า / สามารถใช้ได้ทั้ง commercial หรือ homemade diet 

 

State-of-the-art diagnostic approaches for IBD and SCL

  1. การวินิจฉัยแยกโรคระหว่าง IBD กับ SCL ยังคงเป็นเรื่องที่ท้าทายเนื่องจากทั้งอาการทางคลินิก ผล​​ตรวจทางห้องปฏิบัติการและแม้แต่ผลตรวจทางพยาธิวิทยาระหว่าง IBD และ SCL ยังมีการ over laping กันในหลายราย ต่างจาก Large cell lymphoma (LCL) ที่วินิจฉัยแยกโรคได้ง่ายกว่าเนื่องจากแมวที่เป็น LCL มักแสดงการทางคลินิกที่เฉียบพลันและพบการพัฒนาไปของโรคอย่างรวดเร็ว
  2. มีความเป็นไปได้ว่าในแมวที่เกิดการอักเสบเรื้อรังของทางระบบเดินอาหารจาก IBD สามารถพัฒนาเป็น SCL ได้ในเวลาต่อมา

 

ผลตรวจทางห้องปฎิบัติการ  

  1. Hypoproteinemia (from protein-losing enteropathy) is a common finding in severe IBD และ SCL (พบเกือบ 100%)
  2. ในทางตรงกันข้าม total protein อาจปกติหรือพบว่าสูงขึ้นจากการพบ concurrent hyperglobulinaemia 
  3. ผลตรวจเลือดอื่นๆที่สำคัญต่อการวินิจฉัยและการพยากรณ์โรค ได้แก่ serum folate, serum cobalamin และ inorganic phosphorus 
  4. แนะนำให้เสริม cobalamin ในแมวทุกตัวที่มีภาวะ chronic enteropathy และพบ serum cobalamin concentrations of ≤400 ng/L ยกเว้นในแมว EPI แนะนำให้เสริมทุกรายแม้จะไม่ได้ตรวจ serum cobalamin ก็ตาม

 

Abdominal ultrasound 

  1. ในแมว IBD และ SCL จะพบผนังลำไส้ชั้น muscularis propria หนาตัวผิดปกติร่วมกับ loss of wall layering และต่อมน้ำเหลืองในช่องท้องโต (lymphadenopathy)
  2. A muscularis to submucosal ratio of > 1 suggested of an abnormal bowel segment 

 

การตรวจทางพยาธิวิทยา 

  1. FNA ไม่สามารถวินิจฉัยแยก IBD ออกจาก SCL ได้ 
  2. การตรวจ histopath ยังคงเป็น gold standard for diagnosis chronic enteropathy แต่ก็ยังมีความผิดพลาดในการแยก IBD กับ SCL เกิดขึ้นได้ 

 การตรวจวินิจฉัยอื่นๆ เช่น การตรวจทาง immunohistochemistry และการทำ clonality testing 

 

Therapeutic Management of IBD and SCL 

  1. การรักษาแมวที่เป็น IBD สัมพันธ์กับการให้ steroids (with or without a concurrent dietary trial using a novel protein or hydrolyzed diet) 
  2. Cats classified as idiopathic IBD are commonly treated with prednisolone at 2 mg/kg/day, which can be divided q12h dependent on the tolerance of the patient 
  3. The prednisolone dose is usually tapered by 25% every 3 to 4 weeks until the lowest effective dose is identified
  4. budesonide (3 mg/m2 q24h) has been anecdotally used as an alternative in patients intolerant to systemic steroids (e.g., cats with diabetes mellitus)
  5. Cats with severe malabsorption can benefit from initial treatment with subcutaneous injections of dexamethasone until the disease is better controlled
  6. Chlorambucil can be administered continuously at a dose of 2 mg per cat PO q48h to q72h (usually at home) or as a pulse-dose protocol at 20 mg/m2 every 2 weeks

 

 

อ้างอิงข้อมูล 

 

Bandara, Y., Priestnall, S. L., Chang, Y. M., & Kathrani, A. (2023). Outcome of chronic inflammatory enteropathy in cats: 65 cases (2011‐2021). Journal of Small Animal Practice, 64(3), 121-129.

Marsilio S. Feline chronic enteropathy. J Small Anim Pract. 2021 Jun;62(6):409-419. doi: 10.1111/jsap.13332. Epub 2021 Apr 5. PMID: 33821508.

วันที่โพส : 13 สิงหาคม 2567